การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย

ในการปฐมพยาบาลจะต้องมีการประเมินสภาพการบาดเจ็บและต้องดำเนินการให้การปฐมพยาบาลก่อนที่จะทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บอย่างไรก็ตามในสภาวะที่เสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ทั้งของผู้ที่ทำการช่วยชีวิตและผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น ชีวิตและ/หรือความปลอดภัยของผู้ป่วยเจ็บนั้นขึ้นอยู่กับวิธีการในการช่วยชีวิตและการเคลื่อนย้ายก่อนที่จะทำการปฐมพยาบาลหรือให้การรักษาต่อไป การปฏิบัติการช่วยชีวิตจะต้องทำอย่างรวดเร็วและปลอดภัย การปฏิบัติด้วยความสะเพร่าหรือรุนแรงเกินไปในระหว่างให้การช่วยเหลือ จะยิ่งทำให้การบาดเจ็บรุนแรงมากขึ้น


เหตุผลสำคัญในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย มี 
2 ประการ

  1. อาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจำเป็นต้องรีบนำส่งรพ.
  2. สถานการณ์ในที่เกิดเหตุไม่ปลอดภัย เช่น ผู้ป่วยติดอยู่ในกองเพลิงหรือผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุรถชนกลางถนนมีความจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในที่ปลอดภัยหากมีอุบัติเหตุที่อาจทำให้มีการบาดเจ็บของไขสันหลัง เช่น ผู้ป่วยตกจากที่สูง หรืออุบัติเหตุรถชน จะต้องมีการดามกระดูกสันหลังก่อนเสมอ

ก่อนจะทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจะต้องแก้ไขส่วนที่บาดเจ็บก่อน 

–  ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลต้องทำการห้ามเลือดก่อน

–  ถ้าผู้ป่วยมีกระดูกหัก จะต้องดามกระดูกก่อน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยบาดเจ็บมากขึ้นในระหว่างการเคลื่อนย้าย

34 comments on “การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย

  1. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย คือ จะต้องทำอย่างรวดเร็วและปลอดภัย การปฏิบัติด้วยความสะเพร่าหรือรุนแรงเกินไปในระหว่างให้การช่วยเหลือ จะยิ่งทำให้การบาดเจ็บรุนแรงมากขึ้น มีวิธีปฏิบัติ ดังนี้
    1. อาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจำเป็นต้องรีบนำส่งรพ.
    2. ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลต้องทำการห้ามเลือดก่อน
    3. ถ้าผู้ป่วยมีกระดูกหัก จะต้องดามกระดูกก่อน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยบาดเจ็บมากขึ้นในระหว่างการเคลื่อนย้าย

  2. อาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจำเป็นต้องรีบนำส่งรพ.
    สถานการณ์ในที่เกิดเหตุไม่ปลอดภัย เช่น ผู้ป่วยติดอยู่ในกองเพลิงหรือผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุรถชนกลางถนนมีความจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในที่ปลอดภัยหากมีอุบัติเหตุที่อาจทำให้มีการบาดเจ็บของไขสันหลัง เช่น ผู้ป่วยตกจากที่สูง หรืออุบัติเหตุรถชน จะต้องมีการดามกระดูกสันหลังก่อนเสมอ
    ก่อนจะทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจะต้องแก้ไขส่วนที่บาดเจ็บก่อน

    1 ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลต้องทำการห้ามเลือดก่อน

    2 ถ้าผู้ป่วยมีกระดูกหัก จะต้องดามกระดูกก่อน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยบาดเจ็บมากขึ้นในระหว่างการเคลื่อนย้าย

  3. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บอย่างไรก็ตามในสภาวะที่เสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ทั้งของผู้ที่ทำการช่วยชีวิตและผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น
    1.การพยุงเดิน สำหรับผู้ป่วยที่รู้สึกตัว
    2.การอุ้มใช้กับผุ้ที่มีน้ำหนักตัวน้อย

  4. ในการปฐมพยาบาลจะต้องมีการประเมินสภาพบาดเเผลก่อนการปฎิบัติการช่วยชีวิตจะต้องทำอย่างรวดเร็วและปลอดภัยถ้าอาการของผู้ป่วยไม่ดีขึ้นให้นำส่งโรงพยาบาลทันที

  5. กอาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจำเป็นต้องรีบนำส่งรพ.
    สถานการณ์ในที่เกิดเหตุไม่ปลอดภัย เช่น ผู้ป่วยติดอยู่ในกองเพลิงหรือผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุรถชนกลางถนนมีความจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในที่ปลอดภัยหากมีอุบัติเหตุที่อาจทำให้มีการบาดเจ็บารเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ดูอาการของผู้ป่วยในข้างต้นว่าเราควรจะปฐมพยาบาลอย่างไร

  6. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย คือ
    ในการปฐมพยาบาลจะต้องมีการประเมินสภาพการบาดเจ็บและต้องดำเนินการให้การปฐมพยาบาลก่อนที่จะทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บอย่างไรก็ตามในสภาวะที่เสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ทั้งของผู้ที่ทำการช่วยชีวิตและผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น ชีวิตและ/หรือความปลอดภัยของผู้ป่วยเจ็บนั้นขึ้นอยู่กับวิธีการในการช่วยชีวิตและการเคลื่อนย้ายก่อนที่จะทำการปฐมพยาบาลหรือให้การรักษาต่อไป การปฏิบัติการช่วยชีวิตจะต้องทำอย่างรวดเร็วและปลอดภัย การปฏิบัติด้วยความสะเพร่าหรือรุนแรงเกินไปในระหว่างให้การช่วยเหลือ จะยิ่งทำให้การบาดเจ็บรุนแรงมากขึ้น

  7. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ดูอาการของผู้ป่วยในข้างต้นว่าเราควรจะปฐมพยาบาลอย่างไร
    และเมื่อปฐมพยาบาลเสร็จควรรีบนำส่งโรงพยาบาลเพื่อให้ถึงมือหมอให้เร็วที่สุด
    ส่วนผู้ปว่ยที่มีแผลเลือดไหล ควรห้ามเลือดเเละน้ำน้ำเกลือล้างแผลให้สะอาดและถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลต้องทำการห้ามเลือดก่อน หรือถ้าผู้ป่วยมีกระดูกหัก จะต้องดามกระดูกก่อน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยบาดเจ็บมากขึ้นในระหว่างการเคลื่อนย้าย

  8. การเคลื่อนย้ายผู็ป่วย คือ การช่วยผู้ป่วยให้พ้นจากการเสี่ยงอันตรายต่อชีวิต

  9. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย คือ การปฏิบัติด้วยความสะเพร่าหรือรุนแรงเกินไปในระหว่างให้การช่วยเหลือ จะยิ่งทำให้การบาดเจ็บรุนแรงมากขึ้น 1. อาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจำเป็นต้องรีบนำส่งรพ. 2. ผู้ป่วยตกจากที่สูง หรืออุบัติเหตุรถชน จะต้องมีการดามกระดูกสันหลังก่อนเสมอ 3. ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลต้องทำการห้ามเลือดก่อน 4. ถ้าผู้ป่วยมีกระดูกหัก จะต้องดามกระดูกก่อน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยบาดเจ็บมากขึ้นในระหว่างการเคลื่อนย้าย

  10. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ดูอาการของผู้ป่วยในข้างต้นว่าเราควรจะปฐมพยาบาลอย่างไร
    และเมื่อปฐมพยาบาลเสร็จควรรีบนำส่งโรงพยาบาลเพื่อให้ถึงมือหมอให้เร็วที่สุด
    ส่วนผู้ปว่ยที่มีแผลเลือดไหล ควรห้ามเลือดเเละน้ำน้ำเกลือล้างแผลให้สะอาด

  11. การเคลื่อนย้ายที่ถูกวิธีมีความสำคัญมาก
    1. ต้องทราบว่าผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บบริเวณใด
    2. ให้การปฐมพยาบาลก่อนการเคลื่อนย้าย เช่น ห้ามเลือด ดามกระดูกที่หัก เป็นต้น
    3. เลือกวิธีการเคลื่อนย้ายที่เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
    4. การเคลื่อนย้ายต้องทำด้วยความนุ่มนวล มีสติ รอบคอบ

  12. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย คือ การปฐมพยาบาลหรือการช่วยเหลือผู้อื่น
    1.ดูอาการของผู้ป่วย 2.ผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุจะมีการดามกระดูกสันหลัง 3.ถ้ามีบาดแผลควรห้ามเลือด 4.ถ้ามีกระดูกหักตรงไหนจะต้องดามกระดูก เพื่อป้องกันมิให้ผู้ป่วยบาดเจ็บ

  13. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย คือเราต้องอาการผู้ป่วยก่อน เราจึงประถมพยาบาลเบื่องต้นและเราจึงนำผู้ป่วยส่งให้ถึงมือหมอโดยเร็ว

  14. ในการปฐมพยาบาลจะต้องมีการประเมินสภาพการบาดเจ็บและต้องดำเนินการให้การปฐมพยาบาลก่อนที่จะทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บอย่างไรก็ตามในสภาวะที่เสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ทั้งของผู้ที่ทำการช่วยชีวิตและผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น ชีวิตและ/หรือความปลอดภัยของผู้ป่วยเจ็บนั้นขึ้นอยู่กับวิธีการใน

  15. ในการปฐมพยาบาลต้องประเมินจากสภาพการบาดเจ็บและต้องดำเนินการให้ก่อนที่จะเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากผู้ป่วยมีเลือไหลควรห้ามเลือดก่อนเคลื่อนย้าย
    และหากกระดูกหักควรด้ามก่อนเคลื่อนย้าย

  16. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย เราต้องดูอาการของผู้ป่วยก่อน ว่าได้แขนหักขาหักไหม เมื่อรู้เราก็จะได้เคลื่อนย้าย แบบถูกวิธี และก็เรียกรถพยาบาลมาอย่างเร็ว

  17. จะทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บอย่างไรก็ตามในสภาวะที่เสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ทั้งของผู้ที่ทำการช่วยชีวิตและผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น ชีวิตและ/หรือความปลอดภัยของผู้ป่วยเจ็บนั้นขึ้นอยู่กับวิธีการในการช่วยชีวิตและการเคลื่อนย้ายก่อนที่จะทำการปฐมพยาบาลหรือให้การรักษาต่อไป

  18. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บอย่างไรก็ตามในสภาวะที่เสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ทั้งของผู้ที่ทำการช่วยชีวิตและผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น ชีวิตและ/หรือความปลอดภัยของผู้ป่วยเจ็บนั้นขึ้นอยู่กับวิธีการในการช่วยชีวิตและการเคลื่อนย้ายก่อนที่จะทำการปฐมพยาบาลหรือให้การรักษาต่อไป

  19. การเคลื่อนย้ายผู็ป่วย คือ การช่วยผู้ป่วยให้พ้นจากการเสี่ยงอันตรายต่อชีวิต

  20. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บอย่างไรก็ตามในสภาวะที่เสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ทั้งของผู้ที่ทำการช่วยชีวิตและผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น
    1.การพยุงเดิน สำหรับผู้ป่วยที่รู้สึกตัว
    2.การอุ้มใช้กับผุ้ที่มีน้ำหนักตัวน้อย

  21. สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ค่ะ
    1.การเคลื่อนย้ายอย่างถูกวิธี
    2.การแจ้งเหตุฉุกเฉินเพื่อมารับตัว(ู้เจ็บ
    3.หากเราช่วยไม่ใด้ควรโทรแจ้งเหตุฉุกเฉิน

  22. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยหรือผู้ปาดเจ็บคือ
    1.เรียกผู้บาดเจ็บให้มีสติ
    2.ถามชื่อผ๔บาดเจ็บเพื่อให้มัสติ
    3.ถามหาญาติถามว่าบ้านอยู่ไหน
    4.โทรตามรถพยาบาลโยด่วน โทร1669

  23. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย คือ
    จะต้องทำอย่างรวดเร็วและปลอดภัย การปฏิบัติด้วยความสะเพร่าหรือรุนแรงเกินไปในระหว่างให้การช่วยเหลือ จะยิ่งทำให้การบาดเจ็บรุนแรงมากขึ้น
    มีวิธีปฏิบัติ ดังนี้
    1. อาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจำเป็นต้องรีบนำส่งโรงพยาบาล
    2. ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลต้องทำการห้ามเลือดก่อน
    3. ถ้าผู้ป่วยมีกระดูกหัก จะต้องดามกระดูกก่อน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยบาดเจ็บมากขึ้นในระหว่างการเคลื่อนย้าย

  24. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย คือเราต้องอาการผู้ป่วยก่อน เราจึงประถมพยาบาลเบื่องต้นและเราจึงนำผู้ป่วยส่งให้ถึงมือหมอโดยเร็ว

  25. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย คือ
    1.อาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจำเป็นต้องรีบนำส่งโรงพยาบาล
    2.ดูตามร่างกายว่าผู้ป่วยมีบาดแผลหรือไม่ถ้ามีก็ต้องห้ามเลือดก่อน
    3.ถ้าผู้ป่วยมีอาการกระดูกหักให้หา อุปกรณ์มาช่วยดามไว้ก่อน เพื่อไม่ให้ผู้บาดเจ็บมีอาการกระดูกเคลื่อนในระหว่างที่เคลื่อนย้าย

  26. อาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจำเป็นต้องรีบนำส่งรพ.
    สถานการณ์ในที่เกิดเหตุไม่ปลอดภัย เช่น ผู้ป่วยติดอยู่ในกองเพลิงหรือผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุรถชนกลางถนนมีความจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในที่ปลอดภัยหากมีอุบัติเหตุที่อาจทำให้มีการบาดเจ็บของไขสันหลัง เช่น ผู้ป่วยตกจากที่สูง หรืออุบัติเหตุรถชน จะต้องมีการดามกระดูกสันหลังก่อนเสมอ
    ก่อนจะทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจะต้องแก้ไขส่วนที่บาดเจ็บก่อน

  27. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บอย่างไรก็ตามในสภาวะที่เสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ทั้งของผู้ที่ทำการช่วยชีวิตและผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น ชีวิตและ/หรือความปลอดภัยของผู้ป่วยเจ็บนั้นขึ้นอยู่กับวิธีการในการช่วยชีวิตและการเคลื่อนย้ายก่อนที่จะทำการปฐมพยาบาลหรือให้การรักษาต่อไป การปฏิบัติการช่วยชีวิตจะต้องทำอย่างรวดเร็วและปลอดภัย การปฏิบัติด้วยความสะเพร่าหรือรุนแรงเกินไปในระหว่างให้การช่วยเหลือ จะยิ่งทำให้การบาดเจ็บรุนแรงมากขึ้น

  28. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บอย่างไรก็ตามในสภาวะที่เสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ทั้งของผู้ที่ทำการช่วยชีวิตและผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น ชีวิตและ/หรือความปลอดภัยของผู้ป่วยเจ็บนั้นขึ้นอยู่กับวิธีการในการช่วยชีวิตและการเคลื่อนย้ายก่อนที่จะทำการปฐมพยาบาลหรือให้การรักษาต่อไป

  29. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
    1อาการผุ้ป่วย ไม่ปลอดภัย ให้รีบส่งโรงพยาบาล
    2สถานที่เกิดเหตุที่ไม่ปลอดภัย เช่น ผู้ป่วยติดในกองเพลิง หรือผู้บาดเจ็บรถชนกลางถนนมีความจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในที่ปลอดภัยหากที่เกิดเหตุอาจทำให้มีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง เช่นผู้ป่วยตกจากที่สูง หรืออุบัติเหตุรถชน จะต้องมีการดามกระดูกสันหลังเสมอ
    ก่อนจะเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจะต้องทำส่วนที่บาดเจ็บก่อน
    1ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลจะต้องห้ามเลือดก่อน
    2ถ้าผู้ป่วยกระดูกสันหัก จะต้องดามกระดูกก่อน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยบาดเจ็บมากขึ้นในระหว่างการเคลื่อนย้าย

  30. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บอย่างไรก็ตามในสภาวะที่เสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ทั้งของผู้ที่ทำการช่วยชีวิตและผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น ชีวิตและ/หรือความปลอดภัยของผู้ป่วยเจ็บนั้นขึ้นอยู่กับวิธีการในการช่วยชีวิตและการเคลื่อนย้ายก่อนที่จะทำการปฐมพยาบาลหรือให้การรักษาต่อไป

  31. อาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจำเป็นต้องรีบนำส่งรพ.
    สถานการณ์ในที่เกิดเหตุไม่ปลอดภัย เช่น ผู้ป่วยติดอยู่ในกองเพลิงหรือผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุรถชนกลางถนนมีความจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในที่ปลอดภัยหากมีอุบัติเหตุที่อาจทำให้มีการบาดเจ็บของไขสันหลัง เช่น ผู้ป่วยตกจากที่สูง หรืออุบัติเหตุรถชน จะต้องมีการดามกระดูกสันหลังก่อนเสมอ
    ก่อนจะทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจะต้องแก้ไขส่วนที่บาดเจ็บก่อน

    – ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลต้องทำการห้ามเลือดก่อน

    – ถ้าผู้ป่วยมีกระดูกหัก จะต้องดามกระดูกก่อน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยบาดเจ็บมากขึ้นในระหว่างการเคลื่อนย้าย

  32. อาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจำเป็นต้องรีบนำส่งรพ.
    สถานการณ์ในที่เกิดเหตุไม่ปลอดภัย เช่น ผู้ป่วยติดอยู่ในกองเพลิงหรือผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุรถชนกลางถนนมีความจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในที่ปลอดภัยหากมีอุบัติเหตุที่อาจทำให้มีการบาดเจ็บของไขสันหลัง เช่น ผู้ป่วยตกจากที่สูง หรืออุบัติเหตุรถชน

  33. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บอย่างไรก็ตามในสภาวะที่เสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ทั้งของผู้ที่ทำการช่วยชีวิตและผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้นอาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจำเป็นต้องรีบนำส่งรพ.สถานการณ์ในที่เกิดเหตุไม่ปลอดภัย เช่น ผู้ป่วยติดอยู่ในกองเพลิงหรือผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุรถชนกลางถนนมีความจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในที่ปลอดภัยหากมีอุบัติเหตุที่อาจทำให้มีการบาดเจ็บของไขสันหลัง

  34. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
    1.ถ้าผู้ป่วยมีเลือดก็ห้ามเลือดไว้ไม่ให้ไหล
    2.ถ้าอาการผู้ป่วยไม่ปลอยภัยก็โทรหาโรงพยาบาล
    3.เรียกผู้ป่วยให้มีสติ

ส่งความเห็นที่ ด.ญ.กันติชา ยาศรี